Hero Member
คะแนนน้ำใจ 0
กระทู้: 585
ออฟไลน์
|
FIT&FIRM Magic Collar รับประกันช่วงล่างรถท่านจะเฟิร์มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ลดอาการโคลงของรถ ลดเสียงจากช่วงล่างเมื่อขับผ่านผิวการจราจรที่ขรุขระ ทางรถไฟ ควบคุมรถง่ายขึ้นที่ความเร็วสูง แก้ปัญหาช่วงล่างของรถท่านอย่างถูกจุดต้องตัวนี้เลยครับ รับประกันว่าไม่ผิดหวังแน่นอนครับ FIT&FIRM Magic Collar สำหรับ TOYOTA มีหลายรุ่นครับ ราคาตั้งแต่ 2,200-2,900 บาทครับ พร้อมติดตั้งได้ที่อู่ใหม่อ่อนนุช 66 แยก 1 อู่ใหม่ไฉไลกว่าเดิมครับ พร้อมบริการด้วยใจครับผม ประสบการณ์ติดตั้งกว่า 2,500 คัน กับรถหลายรุ่น รับประกันความแน่นหนนึบ FIT&FIRM แน่นอนครับ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ครับที่ 088-898-8296 เอกครับ แผนที่ติดตั้งครับ https://maps.google.co.th/maps/ms?msid=201065131628639272072.0004d0c63efc85a0dc305&msa=0&ll=13.712037,100.653471&spn=0.002595,0.004801&iwloc=0004d0c64f2ee4d86e955พิกัด GPS N13.71136 E100.65227  พิสุจน์จากการใช้งานจริง ลองอ่าน review ได้ครับ http://www.newcitythailand.com/bbs/thread-41939-1-1.html  รูปจากหนังสือ Carperformance ฉบับที่ 145 เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2555 รูปจากหนังสือ Option Thailand ฉบับที่ 7 เดือนพฤศจิกายน 2553 ทำไมต้อง Rigid Collar?  ส่วนประกอบสำคัญของรถยนต์สองส่วนที่จะขาดไม่ได้คือ Body(ตัวถังรถยนต์) กับ Subframe(แพหน้า แพท้าย) ในการประกอบรถยนต์จะต้องประกอบ ชิ้นส่วนสองส่วนนี้เข้าด้วยกัน แต่เนื่องจากเป็นการผลิตจำนวนมากทางบริษัทฯ ผู้ผลิตจึงจำเป็นต้องสร้างรูน๊อตยึดBody กับ Subframeให้มีขนาดใหญ่กว่าน๊อตพอสมควรเพื่อที่จะทำให้ง่ายแก่การประกอบชิ้นส่วนเหล่านี้เข้าด้วยกัน สิ่งเหล่านี้จึงทำให้เกิดช่องว่างระหว่างรูน๊อตกับน๊อตซึ่งเมื่อใช้รถไปเป็นระยะเวลานานๆ ก็จะเริ่มมีเสียงต่างๆ เพิ่มขึ้น หรือยิ่งไปกว่านั้นถ้าใช้รถวิ่งบนถนนขรุขระเป็นประจำหรือวิ่งในสนามแข่งก็อาจจะส่งผลให้น๊อตยึดระหว่าง Body กับ Subframe คลายตัวและเกิดการเคลื่อนตำแหน่งของช่วงล่าง ส่งผลทำให้ประสิทธิภาพของช่วงล่างด้อยลงไป Rigid Collar เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งเข้าไประหว่าง Subframe กับ Body โดยจะอยู่ตรงกลางของน๊อตยึดSubframe กับ Body เพื่อลดช่องว่างระหว่างน๊อตกับรูยึดน๊อต ส่งผลให้ Body กับ Subframe แนบสนิทกว่าเดิมและ Rigid Collar ยังทำหน้าที่เป็นแหวนรองเพิ่มความแข็งแรงให้กับช่วงล่างได้เป็นอย่างดี ตอบสนองได้ดีทั้งทางตรงและทางโค้ง ศึกษาจาก Link ด้านล่างได้ครับ [youtube]http://www.youtube.com/watch?v=zWyUD6UXfog[/youtube] [youtube]http://www.youtube.com/watch?v=Hj6FLpVVCvE[/youtube] ขอมูลดีๆ เอามาให้อ่านครับผม ขอขอบคุณ http://www.headlightmag.com/webboard2011/index.php?topic=18827.0 ว่าจะไม่ตอบแล้ว เพราะเคยมีกระทู้ถามแบบนี้มาครั้งหนึ่งแล้ว และครั้งนี้ก้มีหลายท่านที่ใส่พร้อมข้อมูลเพิ่มเติมประกอบเข้ามาเยอะ แต่ต้องขอตอบเสริมด้วยความรู้ที่มีอันน้อยนิดเพิ่มเติมอีกนิดนึงเพราะมีสมาชิกหลายท่านที่ยังไม่รู้ หลักการและที่มาที่ไปของมัน ก็อย่างที่รู้ว่าเจ้า rigid callar หน้าตามันก็เหมือนดังภาพประกอบ ใช้อุดช่องว่างระหว่างตัวถัง แพล่าง และจุดยึดปีกนกต่างๆ คำถามจึงเกิดขึ้นว่า... ทำไม บ.ผลิตรถยนต์จึงทำให้มีพวกช่องว่างเหล่านั้น ? คำตอบที่แท้จริงคือ ช่องว่างเหล่านั้นถูกตั้งใจให้เกิดขึ้นเพราะเหตุผลทางด้านการผลิต และบำรุงรักษาในอนาคต การจะฟิกส์ตำแหน่งจุดยึดหลายตำแหน่งบนวัสดุชึ้นเดียวเพื่อประกอบกับชิ้นอื่นๆ มันจะถูกสร้างให้เป๊ะๆ 100% ไม่ได้ ต้องเผื่อค่า error จากการผลิตเอาไว้บ้าง โดยพยายมควบคุมช่วงของค่า error ให้น้อยที่สุดเพื่อลดช่องว่างให้น้อยที่สุด ซึ่งถ้าไม่เผื่อไว้เลยหากการผลิตที่มีค่า error ขึ้นมาเพียงน้อยนิดจะไม่สามารถประกอบชิ้นส่วนเหล่านี้ได้ทันที ในความเป็นจริงนั้น บ.ผลิตรถยนต์นั้นไม่อยากให้มีช่องว่างเหล่านี้ด้วยซ้ำ แต่ทำไงได้มันจำเป็นต้องมี พอมีช่องว่างขึ้นมาแล้วเกิดอะไรขึ้น ? แน่นอนว่าพอมีช่องว่างมันก็ต้องมีทั้งได้และเสีย เอาข้อดีก่อน ก็เพราะช่องทำให้มันให้เคลื่อนตัวได้ การซับแรงบิดแรงกระแทกต่างมันก็พอช่วยได้ ทำให้พวกบรรดาช่วงล่างและโช๊คอัพลดภาระลงไปได้บ้างแต่ก็ไม่ได้มากมายอะไรหรอก ส่วนในเรื่องข้อเสียนั้นเป็นเห็นผลของการตอบสนองและการควบคุม เพราะช่องเหล่านี้จะเป็นตัวหน่วงการตอบสนอง ถ้าจะให้เปรียบเทียบสำหรับคนที่ไม่เคยลองหรือยังขับรถไม่เป็น ลองนึกถึงรถจักรยานธรรมดาๆ 2 คัน คันแรกคอรถหลวมทำให้แฮนด์รถไม่แน่น สั่นๆโยกแยก เลี้ยวช้าไม่ค่อยได้ดังใจ แต่เหยียบหินสักก้อนไม่รู้สึกกระทบถึงมือมาก ส่วนอีกคันคอรถแน่นเปรี๊ยะ หักซ้ายขวาไปตามมือ เหยียบอะไรรู้สึกถึงมือได้หมด อาการมันก็คล้ายๆแบบนี้แหละแต่มีข้อแตกต่างกันที่จักรยานไม่มีระบบกันสะเทือนเหมือนรถยนต์ ทำให้ปัจจัยเรื่องการซับแรงกระแทกต่างกันไม่มาก แต่ปัจจัยเรื่องการควบคุมมันก็ขึ้นกับขนาดของช่อง ช่องยิ่งห่างก็ยิ่งตัดกันชัดเจน ใส่ Rigid callar แล้วได้อะไรขึ้นมา? เจ้า Rogid Collar, Member Collar, Subframe bush หรืออะไรก็แล้วแต่ ตามแต่ละสำนักจะตั้งชื่อ (แต่ลิขสิทธิ์เป็นของ Spoon ในชื่อ Subframe Rigid Collar) มันก็มีหน้าที่เหมือนกันคืออุดช่องว่างเหล้านี้ หลักการทำงานและรีวิวการติดตั้งการใช้งานก็ตามโพสของคุณ Nuay Paul R. และคุณ Tee@Abuser ได้เลย ซึ่งตามหลักการเหล่านี้แล้วเมื่อติดตั้งเข้าไปแล้วจะทำให้พวกแพและตัวถังไม่สามารถเคลื่อนตัวได้หรือหรือเคลื่อนตัวได้น้อยลงมากๆแทบจะมีสภาพเหมือนเป็นชิ้นเดียวกัน การตอบสนองก็จะดีตามไปด้วย ภาระเรื่องแรงกระทำที่หลายๆท่านยังเป็นกังวลจะตกไปเป็นภาระของโช๊คอัพและบูชปีกนกเสียส่วนใหญ่ ที่เข้ามาที่ตัวถังก็อยู่ที่เฟรมหลักที่แข็งแกร่งที่สุดของตัวรถซึ่งในจุดนี้หายห่วงไปได้เลย เมื่อภาระส่วนใหญ่ไปตกที่โช๊คอัพ แน่นอนว่าข้อเสียนั้นมันอาจจะทำให้พังเร็วขึ้น แต่ในแง่ดีนั้นโช๊คอัพจะทำหน้าที่แสดงศักยภาพของมันได้เต็มที การตอบสนองในที่ได้มานั้นจึงแตกต่างกันระหว่างรถแต่ละคัน ยิ่งคันไหนเปลี่ยนโช๊คแต่งหรือทำช่วงล่างมาแล้วนั้นก็จะเห็นผลได้ชัดขึ้นกว่ารถบ้านเดิม และสำหรับรถที่มีแรงม้าแรงบิดเยอะๆ ที่มีการถ่ายแรงบิดลงมาตัวถังและช่วงล่างด้วยนั้นแล้วก็จะเห็นผลชัดเจนขึ้นไปอีกกว่ารถบ้านที่มีแรงอันน้อยนิด ปัจจัยเหล่านี้แหละที่ส่งผลในแง่ความแตกต่างของความรู้สึกที่ต่างกันเพราะแต่ละคนขับรถคนละกันกัน ทำไมถึงใช้ Aluminium เป็นวัสดุในการทำ? ก็เพราะอลูมีเนียมเป็นโลหะที่ไม่เป็นสนิม มีความแข็งแรงในระดับหนึ่ง อ่อนตัวกว่าเหล็ก เหนียว มีแรงกดมากๆสามารถทำให้บี้แบนได้ (ดูคลิปคุณเนยประกอบ) มันจึงมีความเหมาะสมที่สุดเพราะให้ความแข็งแรงในส่วนทรงกระบอกที่เข้าไปอุดรูรอบๆน๊อต และได้ความอ่อนไปไปแทรกระหว่างซัปเฟรมและเมนเฟรม ของแท้ spoon ไม่ทราบแน่ชัดว่าใช้อลูมิเนียมเกรดใหนในการผลิต แต่เท่าที่รู้ในตลาดตอนนี้มี 6061 กับ 7075 สำหรับวัสดุอื่นๆ เช่น เหล็ก (เป็นสนิม) สแตนเลส (แข็งเกิน) ที่น่าสนใจคือมีท่านหนึ่งเสนอว่าทำไมไม่ใช้ยูรีเทน เท่าที่ผมลองวิเคราะห์ดูเองแล้ว การเคลื่อนตัวด้านข้างด้วยแรงมหาศาล โดยผิวสัมผัส (ความหนาของซัปเฟรม) ซึ่งก็ไม่ได้หนาอะไรมาก มากระทำบนผิวยูรีเทน จะทำให้ยูรีเทนขาดได้ในเร็ววัน (P=F/A นั่นแหละครับ F มาก A น้อย แถมแข็งและคม) แล้วสามารถยืนยันได้ว่าเหรอว่ามันใส่แล้วดีขึ้นจริง? ของแบบนี้สิบปากว่าไม่เท่าลองเองครับ ผลการทดลองที่เป็นตัวเลขยังไม่มีให้เห็นในตอนนี้ ยังไม่มีใครเอาไปทดลองเรื่องตัวเลขอย่างจริงๆจังๆ เพราะมันคุมปัจจัยอื่นๆได้ยาก แต่สำหรับในแง่ความรู้สึกมีอยู่เยอะไปครับ แต่มันอยู่ในญี่ปุ่นซึ่งคนไทยส่วนใหญ่อ่านไม่ออก สื่อที่ง่านที่สุดในเมืองไทยก็ลองไปหาอ่านดุในหนังสือ Option Thailand เล่มที่ 7 ดูเอากันเอาเองนะครับ ฉลับนี้ไฮไล์ไปที่การเพิ่มความแข็งแรงให้ตัวถัง เอามารีวิวกันหมดเลยในบรรดาพวกสารพัดค้ำ เปรียบเทียบกันแล้วให้คะแนนตามความรู้สึกของนักแข่งอาชีพที่ได้ลอง แค่นี้ก็พอเป็นแนวทางได้แล้วครับ ซึ่งมันก็ไม่ได้ต่างอะไรกับการให้คะแนนความอร่อยของอาหารที่ประเมินเป็นตัวเลขแน่นอนไม่ได้ต้องใช้เกณพ์ความรู้สึกให้คะแนนเอง แต่มันก็อยู่ที่นักชิมคนนั้นมีความเป็นมือาชีพแค่ไหน แต่ผมเชื่อได้ว่านักแข่งคนนั้นขับรถเก่งกว่าพวกเราแน่ๆครับ คำถามต่อมา.. 1. รถบ้านๆ ร้อยกว่าม้า ขับไม่ถึง 200 มันจำเป็นต้องใส่แค่ไหน ? (รถไม่แรง ใส่แล้วจะคุ้มค่าเงิน 2 พันกว่ามั้ย) 2. ทำไมมีแพร่หลายเฉพาะในญี่ปุ่น ? (หรือว่ารถยุโรป/เมกา มันมีช่องว่างตัวถังน้อยกว่าญี่ปุ่น จนไม่คุ้มที่จะใส่) 3. สุดท้าย ถ้ามันดีจริง ทำไมรถราคาแพงๆถึงไม่ใส่มาจากโรงงาน ? (หรือมันใส่มาแล้วแต่ไม่ได้โฆษณาหว่า) ขออภัยที่สงสัยมากครับ แค่อยากให้แต่งรถกันอย่างมีเหตุผล เสียตังค์ด้วยความเข้าใจ ไม่ใช่แต่งตามกระแส เสียตังค์แล้วต้องดีเสมอ 1. รถบ้านๆ ร้อยกว่าม้า ขับไม่ถึง 200 มันจำเป็นต้องใส่แค่ไหน ? (รถไม่แรง ใส่แล้วจะคุ้มค่าเงิน 2 พันกว่ามั้ย) เรื่องรถแรงเป็นแค่ปัจจัยส่วนหนึ่งเท่านั้น ซึ่งการที่จะทำให้มันเคลื่อนตัวนั้นต้องมีแรงมากกระทำ แต่ก่อนอื่นต้องทำเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเรื่อง อัตราเร่ง แรง G แรงเหวี่ยงหนีศูนย์ โมเมนตัมเสียก่อน ซึ่งจะสัมพันธ์ไปในทางเดียวกัน ในที่นี้จะข้อใช้แค่แรง G มาอธิบายก็พอ ซึ่งรอบคันรอบจะมีแรง G มาเกี่ยวข้องทุกด้าน ด้านที่เราสนใจนั้นคื้อด้าน หน้า-หลัง และด้านข้าง ด้านหน้าหลัง แรง G จะเกิดก็เมื่อมีการ เร่ง หรือเบรค (เบรคหัวทิ่ม ดึงหลังติดเบาะหนั่นแหละ) จะเกี่ยวข้อโดยตรงกับแรงบิดเครื่อง การเป็นอันเดียวกันมันจะถ่ายถอดการตอบสนองของพลังได้รวดเร็วกว่า (คล้ายๆกับการมี Engine torqe damper แต่ประสิทธิภาพยังต่างกันมากเพราะนั่นมันหน้าที่โดยตรงของมัน) สำหรับรถที่แรงน้อยๆการตอบสนองของจุดนี้ก็ลดหลั่นกันไปตามลำดับส่วน สำหรับแรง G ด้านข้าง (ไหลพิงประตู) เกิดจากการเปลียนทิศทางการเคลื่อนที่ด้านข้าง หรือการเลี้ยวนั่นเอง จุดนี้แหละที่สำคัญ ไม่เกี่ยวกับความแรง แต่เกี่ยวกับความเร็ว ยิ่งมาเร็วเลี้ยวเร็วมากเท่าไหร่ G ก็ยิ่งมาก (ถ้าไม่หมุนเสียก่อน) สิ่งที่ตามมาก็คือ แรงเหวียงหนีศูนย์ โมเมนตัม ซึ่งเป็นแรงที่มากระทำกับตัวรถทั้งหมด โดยเฉพาะยาง ช่วงล่าง หรือแม้กระทั้งตัวถังต้องรับภาระไป แรง G ด้านข้างนี่แหละที่จะทำให้มันเคลื่อนตัวได้ง่ายที่สุด ซึ่งจะสรุปง่ายๆว่าไม่ว่ารถจะแรง ไม่แรง มันไม่มีผลเท่ากับพฤติกรรมการขับ ต่อให้ขับรถที่แต่งมามากแค่ไหน แต่ขับแบบอาซิ้ม อาม๋าไปจ่ายกับข้าวของแต่งที่ใส่มาไม่ว่าจะดีแค่ไหนก็ไม่มีทางที่จะเห็นความคุ้มค่าของมัน ในทางกลับกับแม้ว่ารถจะไม่ได้แรงอะไรเลย แต่กลับขับโหดสาดโค้ง เทโค้งหนักๆ ก็จะเห็นความคุ้มค่าของมันมันทันที สำหรับ ราคา 2,000 คุ้มมั๊ย คงเป็นความคิดเห็นที่แตกต่างของคนหลายๆคน สำหรับผมถือว่าคุ้มค่ามาก เพราะประสิทธิภาพมันเทียบเคียงได้กับพวกค้้ำล่างหลายจุด ซึ่งราคาหน้าหลังรวมกันแล้วเกินกว่า 5,000 แน่นอน 2. ทำไมมีแพร่หลายเฉพาะในญี่ปุ่น ? (หรือว่ารถยุโรป/เมกา มันมีช่องว่างตัวถังน้อยกว่าญี่ปุ่น จนไม่คุ้มที่จะใส่) ที่มันมีแพร่หลายในญี่ปุ่นเพราะญี่ปุ่นคือเมืองหลวงของการแต่งรถ นวัฒกรรมของแต่งเพิ่มประสิทธภาพใหม่ๆ รวมถึงวัฒนธรรมการแต่งรถส่วนใหญ่กำเนิดขึ้นในญี่ปุ่น ตอนนี้ของแต่งชึ้นนี้เริ่มจะกระจายไปทั่วโลกแล้ว ซึ่งจริงๆของชิ้นนี้มันก็มีมานานแล้วเพียงแต่หน้าตามันต่างออกไปและไม่ได้มีการทำตลาดอย่างจริงๆจัง สำหรับเรื่องช่องว่างนี้ของรถ อเมริกา ยุโรป หรือญี่ปุ่น มันก็ไม่ได้แตกต่างอะไรกัน มันขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีในการผลิต ซึ่งรถรุ่นเก่าๆเหลายรุ่นมันกว้างกว่านี้ แต่เดี๋ยวนี้เริ่มลดน้อยลงเพราะเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยขึ้น แต่ก็มีในบางรุ่นที่ต้องใช้ความประณีตเป็นพิเศษในการทำ ทำจำนวนน้อยๆก็มีขนาดที่เล็กกว่า แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทางาอเมริกาและยุโรปจะมีเทคโนโลยีที่สูงกว่า มันมีปัจจัยอื่นที่มาเกี่ยวข้อง อย่างเช่นทำระบบช่วงล่างให้มันพิเศษกว่าเพื่อมาลบจุดด้อยในส่วนนี้ ซึ่งก็ไม่แปลกที่ใครๆก็พูดว่าช่วงล่างรถยุโรปดีกว่าญี่ปุ่น 3. สุดท้าย ถ้ามันดีจริง ทำไมรถราคาแพงๆถึงไม่ใส่มาจากโรงงาน ? (หรือมันใส่มาแล้วแต่ไม่ได้โฆษณาหว่า) คำจำกัดความของรถแพงๆมันกว้าง แพงแบบหรู , แพงแบบสปอร์ต หรือจะแบบไหนก็ตาม มันถูกเซ็ตจากโรงงานให้มีบุคลิกที่แตกต่างกันอยู่แล้ว แต่ปัจจัยที่เหมือนกันที่มักจะไม่มีมาให้เพราะเรื่องต้นทุน นิดๆหน่อยๆถือเป็นต้นทุนทั้งนั้น รวมๆกันหลายยูนิตก็หลายเงิน ของแต่งเพ่ิงเพิ่มความแข็งแกร่งพวกนี้ในรถบางคันมันก็มีมาให้บ้าน แต่ยังมีบางชิ้นที่ใส่แล้วมันเห็นผลกว่านี้ เขาเลยเลือกใส่ตัวนั้น อย่างพวก EVO X หรือแม้แต่ EX 2.0 ก็ยังมี ค้ำโช้คหน้ามาให้เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน หรือจะมีของชิ้นนี้ในรถอื่นก็ไม่อาจรู้ได้ แต่ในบรรดาพวกรถแข่งมีอุปกรณ์นี้ร่วมกับสารพัดค้ำกันเพียบ (บางจุดใช้ร่วมกันได้ บางจุดก็ไม่ได้) 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Hero Member
คะแนนน้ำใจ 0
กระทู้: 585
ออฟไลน์
|
 พร้อมติดตั้งได้ที่อู่ใหม่แล้วน่ะครับ อ่อนนุช 66 แยก 1 อู่ใหม่ไฉไลกว่าเดิมครับ พร้อมบริการด้วยใจครับผม ประสบการณ์ติดตั้งกว่า 2,500 คัน กับรถหลายรุ่น รับประกันความแน่นหนนึบ FIT&FIRM แน่นอนครับ เปิดบริการทุกวันตั้งแต่ 09.00 น, ถึง 20.00 น.ใช้เวลาติดตั้ง 30-40 นาที สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ครับที่ 088-898-8296
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Hero Member
คะแนนน้ำใจ 0
กระทู้: 585
ออฟไลน์
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
Hero Member
คะแนนน้ำใจ 0
กระทู้: 585
ออฟไลน์
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
Hero Member
คะแนนน้ำใจ 0
กระทู้: 585
ออฟไลน์
|
 ทำไมต้อง FIT&FIRM Magic Collar? ส่วนประกอบสำคัญของรถยนต์สองส่วนที่จะขาดไม่ได้คือ Body(ตัวถังรถยนต์) กับ Subframe(แพหน้า แพท้าย) ในการประกอบรถยนต์จะต้องประกอบ ชิ้นส่วนสองส่วนนี้เข้าด้วยกัน แต่เนื่องจากเป็นการผลิตจำนวนมากทางบริษัทฯ ผู้ผลิตจึงจำเป็นต้องสร้างรูน๊อตยึดBody กับ Subframeให้มีขนาดใหญ่กว่าน๊อตพอสมควรเพื่อที่จะทำให้ง่ายแก่การประกอบชิ้นส่วนเหล่านี้เข้าด้วยกัน สิ่งเหล่านี้จึงทำให้เกิดช่องว่างระหว่างรูน๊อตกับน๊อตซึ่งเมื่อใช้รถไปเป็นระยะเวลานานๆ ก็จะเริ่มมีเสียงต่างๆ เพิ่มขึ้น หรือยิ่งไปกว่านั้นถ้าใช้รถวิ่งบนถนนขรุขระเป็นประจำหรือวิ่งในสนามแข่งก็อาจจะส่งผลให้น๊อตยึดระหว่าง Body กับ Subframe คลายตัวและเกิดการเคลื่อนตำแหน่งของช่วงล่าง ส่งผลทำให้ประสิทธิภาพของช่วงล่างด้อยลงไป Rigid Collar เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งเข้าไประหว่าง Subframe กับ Body โดยจะอยู่ตรงกลางของน๊อตยึดSubframe กับ Body เพื่อลดช่องว่างระหว่างน๊อตกับรูยึดน๊อต ส่งผลให้ Body กับ Subframe แนบสนิทกว่าเดิมและ Rigid Collar ยังทำหน้าที่เป็นแหวนรองเพิ่มความแข็งแรงให้กับช่วงล่างได้เป็นอย่างดี ตอบสนองได้ดีทั้งทางตรงและทางโค้ง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|